ที่มาของการเลือกใช้รถ 6 ล้อรับจ้างในการขนของ

รถ 6 ล้อรับจ้างที่ผลิตในเมืองไทยเป็นแบบเดียวกับในญี่ปุ่นและเมืองจีน เป็นเหมือนเก้าอี้ไม้แต่มีล้อซึ่งทำด้วยไม้หุ้มยางตัน และมีที่วางเท้า มีคานไม้เนื้อแข็งกลมๆ ๒ อันยื่นจากที่วางเท้าให้คนลากถือ ปลายคานทั้งสองข้างมีแผ่นเหล็กยึดไม่ให้แยกจากกัน และมีเหล็กงอโค้งลงติดปลายคานทั้งสองข้าง สำหรับใช้วางเมื่อรถจอด ทั้งยังมีแหนบ ๒ ข้างรองที่นั่งกับคานล้อเพื่อกันสะเทือน กับมีสังกะสีแผ่นโค้งติดไว้เหนือล้อเป็นที่บังโคลน มีหลังคาผ้าใบแบบที่พับเปิดปิดได้ โครงทำด้วยไม้ไผ่ เปิดโล่งทุกด้านรับลม แต่มีผ้าใบดึงลงมาได้เมื่อเวลาฝนตก เวลากลางคืนจะมีตะเกียงน้ำมันก๊าดแขวนไว้ข้างรถทั้งสองด้าน ด้านหน้าเป็นกระจกใสส่องทาง ด้านหลังเจาะเป็นวงกลมใส่กระจกแดง ใช้เป็นไฟท้ายให้ยวดยานที่ตามมาเห็น

รถรับจ้างจะทาสีแดงที่ตัวรถและบังโคลน ส่วนรถ 6 ล้อรับจ้างจะนุ่งกางเกงขาสั้นสีน้ำเงินที่เรียกกันว่า “สีตากุ้ง” เสื้อผ่าอกสีเดียวกับกางเกง ใส่หมวกกุ้ยเล้ยที่ทำจากไม้ไผ่สานบุด้านในด้วยใบไผ่ เป็นหมวกปีกกว้างมียอดแหลม กันแดดกันฝนได้ ส่วนหน้าฝนก็จะมีเสื้อทำจากผ้าใบอาบน้ำมันคลุมถึงเข่าและแขนกันเปียก ที่ข้อมือซ้ายของคนลากจะมีแผ่นทองเหลืองปลายมนเจาะรูผูกไว้ มีหมายเลขใบอนุญาตของผู้ลาก เท่ากับเป็นใบขับขี่ รองเท้าเป็นเพียงแผ่นหนังเจาะรูร้อยเชือกผูกกับเท้าเท่านั้น ถ้ามือใหม่ยังไม่คุ้น เวลาวิ่งแผ่นหนังจะตบถนนดังไปตลอดทาง

ส่วนรถ 6 ล้อรับจ้างที่เป็นรถส่วนตัวจะทาสีเขียวให้แตกต่างกัน ก้านประทุนมักใช้ทองเหลืองแทนไม้ไผ่ เช่นเดียวกับบังโคลนก็มักเป็นทองเหลืองขัดจนเป็นมันวาววับ ส่วนที่วางเท้าก็จะมีกระดิ่งทองเหลืองวางอยู่ เมื่อเข้าในเขตที่จอแจ คนนั่งจะใช้เท้าเตะกระดิ่งแทนแตร ส่วนคนลากต้องใช้ปากร้องขอทาง

คนจีนที่อพยพมาอยู่เมืองไทยใหม่ๆที่เรียกว่า “ซินตึ๊ง” งานแรกที่หากินง่ายก็คือเป็นกุลีลากรถ ซึ่งไม่ต้องใช้ความรู้ความชำนาญอะไร ทั้งภาษาไทยก็ไม่จำเป็น ถูกสอนพอให้รู้จักถนนหนทางบ้างเท่านั้น แล้วก็รู้จักแต่ชื่อภาษาจีน ความยากลำบากจึงตกกับผู้โดยสารที่จะสื่อสารกับคนลาก ต้องเรียนรู้ภาษาจีนแต้จิ๋ว เพื่อบอกสถานที่และต่อรองราคากันได้